บรรณานุกรม

 

 

บรรณานุกรม กรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ. พระธรรมปิฎก กับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพ. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๓๗.

กรมการศาสนา. มนต์พิธีฉบับหลวง, ๒๕๓๐.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. การพัฒนาหลักสูตรสังคมศึกษาในส่วนที่ว่าด้วยพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นปัจจัยส่งเสริมความมั่นคงของชาติ, ๒๕๒๙.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ความเป็นมาของหลักสูตรและการนำหลักสูตรพระพุทธศาสนาในหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. ๒๕๓๓) ไปใช้.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ความเป็นมาของหลักสูตรและการนำหลักสูตรสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓ ไปใช้

กองแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ. รายงานการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๒๓

กองแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ. รายงานการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๒๔

กองศาสนูปถัมภ์ กรมการศาสนา, เอกสารรายงานการประชุมหรือเกี่ยวกับหลักสูตร พระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๑/๒๕๒๔, ครั้งที่ ๒/๒๕๒๕ พระพุทธศาสนา ในทศวรรษใหม่ คำสัมภาษณ์ เรื่องหลักสูตรพระพุทธศาสนา แง่คิดหนึ่งทางการศึกษา ,๒๕๒๕

กีรติ บุญเจือ. ชุดศาสนศึกษา หลักปฏิบัติของชาวคริสต์คาทอลิก(คริสตศาสนาภาคหลัง). กรุงเทพฯ: บริษัท โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, ๒๕๓๐.

กีรติ บุญเจือ. พรไตรปิฎกสำหรับชาวคริสต์. กรุงเทพฯ: เอกสารการวิจัย,๒๕๒๔.

โกมล คีมทอง. โกมลตนหนุ่ม รวมข้อเขียนแห่งความบันดาลใจ . กรุงเทพฯ: บริษัท แปลน พริ้นท์ติ้ง จำกัด, ๒๕๔๐. โครงการพุทธธรรมสัญจร. ระเบียบวาระการประชุมเตรียมการ โครงการประชุมทางวิชาการ, เรื่อง "การศึกษา พระพุทธศาสนา เพื่อสันติภาพ" ในส่วนภูมิภาคและโครงการ พุทธธรรมสัญจร. ๒๕๔๒

โคสุเกะ โคยามา. คริสตธรรม-พุทธธรรม . กรุงเทพ: หจก. การพิมพ์พระนคร, ๒๕๑๐.

จิตรกร ตั้งเกษมสุข. เอกสารรางวัล "การศึกษาเพื่อสันติภาพ"

ชำเลือง วุฒิจันทร์. เอกสารประกาศกรมการศาสนา เรื่องการเรียกคำนำหน้าชื่อของพระสงฆ์, พ.ศ. ๒๕๒๗

ธรรมเกียรติ กันอริ. พระเทพเวที พระนักวิชาการ องค์สำคัญแห่งยุคสมัย. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ ๑๒: ฉบับที่ ๖๐๒, มีนาคม ๒๕๓๕

นิเชต สุนทรพิทักษ์,ดร. สารประชาสัมพันธ์ สำนักงานสภาสถาบันราชภัฎกระทรวงศึกษาธิการ ปีที่ ๙: ฉบับที่ ๓, มีนาคม ๒๕๔๒.

เบญจ์ บาระกุล. ดร. เปิดโปงขบวนการล้มพุทธ.พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: บริษัท สยามบิสซิเนส แอนด์ พริ้นติ้ง จำกัด, ๒๕๔๒.

ประเวศ วะสี. ยุทธศาสตร์ทางปัญญาของชาติ. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ จำกัด,๒๕๔๒.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. เอกสารรายงานการประชุมสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ครั้งที่ ๑๗/๒๕๔๒

แปลก สนธิรักษ์. ศีลธรรม สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๘.

พระเทพเวที, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทวฤทธิ์ปาฏิหาริย์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๖.

พระเทพเวที, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). กรณีธรรมกายฉบับคัดตัวอย่าง. พิมพ์ครั้งที่ ๑๒. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด, ๒๕๔๒.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). กรณีธรรมกาย.พิมพ์ครั้งที่ ๑๕. กรุงเทพฯ: พิมพ์อำไพ, ๒๕๔๒.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). การสร้างสรรค์ปัญญาเพื่ออนาคตของมนุษยชาติ. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๔๐.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). การศึกษาเพื่อสันติภาพ. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๘.

พระธรรมปิฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต). การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมมิก จำกัด, ๒๕๓๙.

พระธรรมปิฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต). การศึกษาทางเลือก: สู่วิวัฒน์หรือวิบัติในยุคโลกไร้พรมแดน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๑. พระธรรมปิฎก, (ป.อ. ปยุตโต). แง่คิดข้อสังเกตเกี่ยวกับ การปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๔๑.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตโต). ชีวิตที่สมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมมิก จำกัด, ๒๕๓๗.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตโต). ชีวิตและผลงานพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) และนานาทัศน์ของนักวิชาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒.

พระธรรมปิฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต). ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะศาสนาประจำชาติ. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๙.

พระธรรมปิฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต). ธรรมกับไทยในสถานการณ์ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๑.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๐.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๘.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.

พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต), เราจะกู้แผ่นดินกันอย่างไร?. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๔๒. พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต), วัฒนธรรมไทย สู่ยุคเป็นผู้นำและเป็นผู้ให้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๓๘. พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). เริ่มวิวัฒน์ที่กลางวิกฤติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๑. พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). สาวิกา ฉบับพิเศษ. มงคลวาร ๖๐ ปี พระธรรมปิฎก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สามสี, ๒๕๔๒. พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). อุดมธรรม นำสำนึกของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๗. พระธรรมปิฎก,(ป.อ. ปยุตฺโต). เอกสารแผนแม่บทการศึกษาพระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพ ปีพ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๓ พระราชธรรมนิเทศ (พระมหาระแบบ). แผนการทำลายพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: ธนาคารกรุงเทพจัดพิมพ์, ๒๕๒๕. พระราชวรมุนี, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). ประโยชน์สูงสุดของชีวิตนี้. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ จำกัด ,๒๕๓๐. พระราชวรมุนี. พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่๔. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๒๔. พระราชวรมุนี. พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่๕. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, ๒๕๒๖.

พระราชวรมุนี, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ ๓, กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๒๙.

พระราชวรมุนี, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). สถาบันสงฆ์กับสังคมปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: จรูญการพิมพ์, ๒๕๒๙.

พิสิฐ เจริญสุข. สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๓๖.

พุทธินันท์ โพธิ์จินดา. พุทธศาสนากับความคิดทางการเมืองของ ส.ศิวรักษ์.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์เทียนวรรณ, ๒๕๒๗.

มนัส จวบสมัย. เอกสารวาระการประชุม ณ วิทยาลัยแสงธรรม, นครปฐม.

วารี เกิดคำ.ผศ. เอกสาร ผลการพิจารณาทุนอุดหนุน การวิจัย, ๒๕๔๒

วิษณุ รัตนโฆรานนท์. ปฏิวัติสังคมไทย. กรุงเทพฯ: หจก. เรืองแสง การพิมพ์, ๒๕๓๕.

ศูนย์ประชาสัมพันธ์ กระทรวงศึกษาธิการ. เอกสารรายงานภาพรวมกระทรวงศึกษาธิการในสายตาสื่อมวลชน+นักวิชาการ ,๒๕๔๒.

ศิริลักษณ์ บั้นบำรุงกิจ. เอกสารสารบบเรื่องการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ... ซึ่งผู้ทนราษฎรเห็นชอบแล้ว, ๒๕๔๒.

ส. ศิวรักษ์. คันฉ่องส่องบุคคลร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: หจก. ยงพลเทรดดิ้ง, ๒๕๓๑.

ส. ศิวรักษ์. พุทธธรรมกับอุดมการณ์สำหรับศตวรรษที่ ๒๑ : ปาฐกถา ครบรอบ ๖๐ ปี พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). กรุงเทพฯ: บริษัท เคล็ดไทย จำกัด, ๒๕๔๒.

สมประสงค์ ปิ่นจินดา. จากใจ. กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์ สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา, ๒๕๓๘.

สายหยุด จำปาทอง, เอกสาร ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการเพิ่มรายวิชาในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๔๑ สุทธิพงศ์ ตันตยาพิศาลสุทธิ์. รายงานการประชุมหารือเกี่ยวกับหลักสูตรพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา,๒๕๒๕.

สุนทร พลามินทร์. ดร. นานาทัศนะเกี่ยวกับ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๙.

เสรี พงศ์พิศ. คาทอลิกกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง. ๒๕๒๗.

เสรี พงศ์พิศ. ศาสนาคริสต์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,๒๕๓๑.

แสง จันทรงาม, ศจ. นิพพานนั้นเป็นเช่นไร. หนังสือพิมพ์ไทย,๒๕๔๒.

สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. วัฒนพจน์ของผู้รงคุณวุฒิทางวัฒนธรรม. กรุงเทพ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๐.

สำนักเลขาธิการ สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทย เพื่อการพัฒนา: เอกสารรายงานกิจกรรม ๖ เดือน CCTD เดือนมกราคม-มิถุนายน ๒๕๔๒.

สำนักงานเลขานุการกรม สำนักงานสภาสถาบันราชภัฎ. เอกสารระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการ ประชุมทางวิชาการของกองทุนการศึกษาเพื่อสันติภาพ เรื่อง "ความร่มเย็นในวิถีไทย" ครั้งที่๑/๒๕๔๐

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด, ๒๕๔๒.

สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ. ป.อ. ปยุตฺโต. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๘.

สันติสุข โสภณสิริ. ปรีติธรรม รวมธรรมทัศน์ของพระมหาเถระต่อปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กังหัน, ๒๕๔๒.

สันติสุข โสภณศิริ, บาทหลวง. คุยกันเจ็ดวันหน. อุดมสาร ปีที่ ๒๓: ฉบับที่ ๓๓, สิงหาคม ๒๕๔๒

สำรวย นักการเรียน. รายงานการประชุม คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ครั้งที่ ๑๖/๒๕๔๒, พ.ศ. ๒๕๔๒

วันมูหะมัดนอร์ มะทา. เอกสารร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พศ.... พร้อมด้วยหลักการและเหตุผล, มีนาคม ๒๕๔๒.

อรุณ เวชสุวรรณ. โต้พระสันตะปาปาฯ กรณีหมิ่นพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: เอ.พี.กราฟิคดีไซน์ และการพิมพ์, ๒๕๓๘.

อาภา จันทรสกุล ผศ.ดร. ชีวประวัติ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๘.

อาภา สมัครการ. เอกสารร่างพระบัญญัติราชบัญฑิตยสถาน พศ... ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรม (ฉบับที่..) พ.ศ.... ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน (ฉบับที่...) พ.ศ... และร่างพระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการราชบัณฑิตยสถาน(ฉบับที่...) พ.ศ.... รวม ๔ ฉบับ. สิงหาคม ๒๕๔๒

อักขราทร จุฬารัตน. เอกสารร่างพระราชบัญญัติราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ... ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน (ฉบับที่...) พ.ศ... และร่างพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนรายการราชบัณฑิตสถาน(ฉบับที่๑๐) พ.ศ. รวม ๔ ฉบับ. กรกฎาคม ๒๕๔๒

________. ชีวิตและงานผู้รงคุณวุฒิทางวัฒนธรรม . กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๓๙.

________. แนวคิดและนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ พื้นฐานปฏิรูปการศึกษาเพื่อประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๑.

________. ปาจารยสาร ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑, เดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๒๗-๘ (กรณี ธรรมเกียรติ กันอริกับพระมหาประยุทธ์ ปยุตฺโต และมหาชาย อาภาสโร เทศนาที่วัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่) หน้า ๔๘-๕๙

________. ปาจารยสาร ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑, เดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๒๗-๘.( "The Growth of the Voluntary Sector in Thailand" A talk by Sulak Sivaraksa: London, May 1984 อิสรนันท์ (กรณีกำเนิดมูลนิธิโกมลคีมทอง)

________. ปาจารยสาร ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๓, พฤษภาคม-มิถุนายน ๒๕๒๘ สัมภาษณ์ ประเวศ วะสี (ระบบข้าราชการไทยเป็นระบบเผด็จการที่ครอบงำประเทศทั้งหมด หน้า ๕๗-๗๕)

________. ปาจารยสาร ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๓, เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ๒๕๒๙. บทสัมภาษณ์ พระราชวรมุนี ประยุทธ์ ปยุตฺโต (กรณีคณะสงฆ์กับพระมหากษัตริย์ หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ หน้า ๖๕-๘๒)

________.พระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาใหม่ ฉบับแปลใหม่.กรุงเทพฯ: กนกบรรณสาร,๒๕๔๑.

________. พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี สยามรัฐ. พิมพ์ครั้งที่ ๗ (ฉลองครองราชย์ รัชกาลที่ ๗)

________. พุทธจักร ปีที่ ๕๓: ฉบับที่ ๑, มกราคม ๒๕๔๒

________.วัฒนธรรมสัมพันธ์สาร ปีที่๑๑: ฉบับที่ ๖๕, มิถุนายน ๒๕๔๒

________. เอกสารการจัดประชุม สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง "การศึกษา เพื่อสันติภาพ" , สิงหาคม ๒๕๓๙

________.เอกสารการประชุมวิชาการครั้งที่ ๓ เรื่อง การศึกษา พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพ, มกราคม ๒๕๔๒

________. เอกสารการประชุมวิชาการครั้งที่๓ เรื่องการศึกษาพระพุทธศาสนา เพื่อสันติภาพ, มกราคม ๒๕๔๒

________.เอกสารกำหนดการสัมมนาปฏิบัติเพื่อพัฒนาหลักสูตรสันติศึกษา, เมษายน ๒๕๔๐

________.เอกสาร โครงการคัดเลือกและมอบรางวัลแก่บุคคลที่มีผลงานดีเด่น ในการส่งเสริมการศึกษาเพื่อสันติภาพกองทุนการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต)

________. เอกสารโครงการประชุมวิชาการเรื่อง การศึกษา พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพ เนื่องในวาระครบ ๖๐ ปี ของพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), กันยายน ๒๕๔๒.

________.เอกสารโครงการจัดสรรทุนวิจัยการศึกษาเพื่อสันติภาพ ของพระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตฺโต)

________.เอกสารโครงการหาทุนโดยการจัดพิมพ์หนังสือและผลิตเทปตลับ

________. เอกสารบันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบร่างพระราชบัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน

________. เอกสารประกาศให้ทุนวิจัยของคณะกรรมการกองทุน การศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต), ๒๕๔๐.

________.เอกสารประเมินผลการประชุมทางวิชาการเรื่องการศึกษาพระพุทธศาสนา เพื่อสันติภาพเนื่องในวาระ ครบ๖๐ ปี พระธรรมปิฎก.(ป.อ. ปยุตฺโต), มกราคม ๒๕๔๒

________.เอกสารสรุป การจัดงานทอดฝ้าป่าสามัคคีกองทุนการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ธันวาคม ๒๕๓๙

________.เอกสารสรุปผลการประชุมวิชาการของกองทุนการศึกษาเพื่อสันติภาพพระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตฺโต) ครั้งที่ ๒ เรื่องความร่มเย็นในวิถีไทย, ธันวาคม ๒๕๔๐

________. เอกสารสรุปสาระสำคัญของการประชุมคณะกรรมการดำเนินการปรับร่างรายวิชาในหมวดวิชาพื้นฐานทั่วไป กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

________. ๖๐ ปี พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). สารประชาสัมพันธ์ สำนักงานสภาสถาบันราชภัฎ ปีที่ ๙ ฉบับพิเศษ ๒๕๔๒

ประวัติ
ดร.เบญจ์ บาระกุล LAW ANALYSER

 



EDUCATION

MA. FINANCIAL MANAGEMENT. NATIONAL UNIVERSITY. USA.

PhD. INTERNATIONAL TRADE LAW. WASINGTON UNIVERSITY. USA.

ACTIVITIED

LAW ANALYSER. CITY OF BELL, USA.

COMMERCIAL CREDIT FINANCIAL & LAW. (GOV.LIC. OFFICER.) USA.

FINANCIAL & LAW ADVISER, FIDELITY UNION. USA.

FINANCIAL & LAW ADVISER, ALLIANCE INC. USA.
   

(หน้าปก - - - สารบัญ - - - จบบริบูรณ์)

1