(จากหนังสือ เตรียมสอบ ม.3 / สำนักพิมพ์พัฒนาศีกษา)
|
|
|
|
กฎความโน้มถ่วงกล่าวว่า วัตถุทุกชนิดมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน แรงดึงดูดนี้จะมากจะน้อยขึ้นกับมวลของวัตถุ และระยะห่างระหว่างวัตถุนั้น ผู้ค้นพบกฎความโน้มถ่วงคือ เซอร์ ไอแซค นิวตัน โลกกับวัตถุต่างๆ ที่อยู่บนโลก ต่างก็มีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน แรงที่โลกดึงดูดวัตถุใดจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับมวลของวัตถุนั้น ถ้าวัตถุนั้นมีมวลมาก แรงที่โลกดึงดูดวัตถุนั้นก็มาก แรงที่โลกดึงดูดวัตถุต่างๆ เรียกว่า แรงโน้มถ่วงของโลก แรงโน้มถ่วงของโลกกระทำต่อวัตถุต่างๆ นอกจากจะขึ้นอยู่กับมวลของวัตถุแล้ว ยังขึ้นอยู่กับระยะจากจุดศูนย์กลางของโลกมากขึ้น แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุนั้นจะน้อยลง
(km) |
(จำนวนเท่าของแรงที่พื้นผิวโลก) |
2 x 6,370 3 x 6,370 4 x 6,370 5 x 6,370 6 x 6,370 7 x 6,370 8 x 6,370 9 x 6,370 10 x 6,370 |
1/4 1/9 1/16 1/25 1/36 1/49 1/64 1/81 1/100 |
* รัศมีของโลก = 6,370 km
ความเร็วหลุดพ้น คือ ความเร็วที่จะพาวัตถุไปได้ไกลจนพ้นจากอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลกได้พอดี
ถ้าต้องการส่งยานอวกาศออกไปให้พ้นจากสนามโน้มถ่วงของโลก ต้องทำให้ยานอวกาศเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่าความเร็วหลุดพ้น ความเร็วหลุดพ้นมีค่าประมาณ 11.2 km/s หรือ 40,320 km/h
ในการส่งยานอวกาศหรือดาวเทียมต้องอาศัยแรงขับดันจากจรวจ จรวจเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดย
อาศัยแรงปฏิกริยาของแรงกิริยาที่เกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในจรวจ
ความเร็วโคจรรอบโลก คือ ความเร็วตามแนวราบที่ทำให้วัตถุไม่ตกลงสู่พื้นโลก แต่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นแนววิถีโค้งรอบโลก ความเร็วโคจรรอบโลกที่ระยะความสูงต่างๆ
จากพื้นโลกจะแตกต่างกันไป
ขณะที่ยานอวกาศโคจรรอบโลกยานอวกาศจะอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก จะมีแรงกระทำต่อยานอวกาศ แรงนี้มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางของโลกแรงนี้เรียกว่า
แรงสู่ศูนย์กลาง ขณะเดียวกันจะมีแรงปฏิกิริยาของแรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อยานอวกาศหรือดาวเทียม แรงปฏกิริยาของแรงสู่ศูนย์กลางนี้เรียกว่า แรงหนีศูนย์กลาง
ความเร็วหลุดพ้น คือ ความเร็วที่จะพาวัตถุไปได้ไกลจนพ้นจากอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลกได้พอดี
ถ้าต้องการส่งยานอวกาศออกไปให้พ้นจากสนามโน้มถ่วงของโลก ต้องทำให้ยานอวกาศเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่าความเร็วหลุดพ้น ความเร็วหลุดพ้นมีค่าประมาณ 11.2 km/s หรือ 40.320 km/h
ในการส่งยานอวกาศหรือดาวเทียมต้องอาศัยแรงขับดันจากจรวด จรวดเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดยอาศัยแรงปฏิกิริยาของแรงกิริยาที่เกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในจรวด
* กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกล่าวว่า "แรงกิริยาทุกแรงจะมีแรงปฏิกิริยา ซึ่งมีขนาดเท่ากันการะทำให้ทิศตรงกันข้ามเสมอ"
ความเร็วโคจรรอบโลก คือ ความเร็วตามแนวราบที่ทำให้วัตถุไม่ตกลงสู่พื้นโลก แต่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นแนววิถีโค้งรอบโลก ความเร็วโคจรรอบโลกที่ระยะความสูงต่างๆ จากพื้นโลกจะแตกต่างกันไป
ขณะที่ยานอวกาศหรือดาวเทียมโคจรรอบโลก จะมีแรงกระทำต่อยานอวกาศ แรงนี้มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางของโลกแรงนี้เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง
ขณะเดียวกันจะมีแรงปฏิกิริยาของแรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อยานอวกาศหรือดาวเทียม แรงปฏิกิริยาของแรงสู่ศูนย์กลางนี้เรียกว่า แรงหนีศูนย์กลาง
ขณะที่ยานอวกาศโคจรรอบโลกยานอวกาศจะอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก เพราะแรงโน้มถ่วงของโลกที่ดึงดูดยาน (แรงสู่ศูนย์กลาง) เท่ากับแรงหนี้ศูนย์กลาง
800 1,000 42,016 |
26,819 26,452 10,324 |