โดย เภสัชกรวิเชียร อัศวดากร

Home

ยา

ผู้หญิง

เด็ก

เครื่องสำอาง

ปฐมพยาบาล

โรคทั่วไป

อื่นๆน่าสนใจ

สอบถามปัญหา

ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ดูแลผิว

Last update : 21/11/42

This Page

 

Related Topic
Interesting Web

 

เชิญติชม เสนอแนะ สอบถามครับ

ชื่อ
email
ติชม เรื่องที่อยากสอบถาม

 

 

 

มาดูกันซิว่า ในผลิตภัณฑ์ดูแลรักษาผิวมีหน้าที่อะไรบ้าง ? 
แต่ละตัวทำหน้าที่อะไร ? เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกใช้

เนื่องจากมีรายการชื่อยาว ขอแนะนำให้หาชื่อโดยการ กด Ctrl-F ซึ่งจะปรากฏเป็น Dialog สำหรับค้นหาคำ

Emollient
Fatty acids ได้แก่ Stearic acid, Lanolin acid, Plasmatic acid, Oleic acid ทำให้เก็บความชุ่มชื้น
ไว้ในผิวมากขึ้น ผิวจึงนุ่มเนียนขึ้น
ป้องกันเซลล์ผิวขาดน้ำ
Fatty alcohols ได้แก่ Cetyl alcohol, Stearyl alcohol, Lauryl alcohol
Lanolin ได้จากขนแกะ
อาจเกิดการระคายเคืองได้
Mineral Oil ได้จาก Petroleum
Plant Oil น้ำมันจากพืช ได้แก่ Olive, Corn, Sunflower
Silicone-Based Oil
Cyclomethicone ทำหน้าที่เหมือน Emollient สิ่งที่ต่างคือ เป็นน้ำมันที่มีส่วนประกอบของ Silicone ซึ่งจะมีน้ำหนักเบากว่า
Dimethicone
Astringent
Aluminum acetate รูปเกลือของ Aluminum  ช่วยทำให้เกิดความสบายตัวของผิว
ลดการระคายเคือง
ช่วยเช็ดเอาส่วนของสารชำระล้าง
ก่อนหน้านี้ออกไป ไม่ตกค้างให้เกิดการระคายเคือง
Aluminum sulfate
Aluminum chloride hexahydrate
Hamamelis water
( Witch Hazel )
สารสกัดจากพืชชนิดหนึ่ง
Tannic acid  
Exfoliant
Butyric acid กลุ่ม Beta-hydroxy acid หรือ เรียกสั้นว่า BHA มีฤทธิ์ระคายเคืองอ่อนๆ ถ้าใช้ในความเข้มข้นต่ำๆ ทำให้เกิดการหลุดลอกของเซลล์ผิวหนัง
และกระตุ้นให้เกิดการสร้างใหม่

การใช้มีข้อควรระวังอยู่บ้าง คือ ควรหลีกเลี่ยงการโดนแดด โดยการใช้ผลิตภัณฑ์กันแดดในตอนเช้า
และควรใช้ความเข้มข้นที่ต่ำๆ

Benzoic acid
Salicylic acid
Citric acid กลุ่ม Alpha-hydroxy acid หรือเรียกสั้นว่า AHA
Glycolic acid
Lactic acid
Malic acid
Tartaric acid
Preservative
Sorbic acid ช่วยหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพของผลิตภัณฑ์ มักพบว่าใช้มากกว่า 1 ตัว เพื่อผลการป้องกันเชื้อที่ดีขึ้น เพราะในผลิตภัณฑ์ จะมี 2 phase คือ ส่วนของน้ำ และส่วนของน้ำมัน

เป็นกลุ่มของสารที่คิดว่า เป็นสาเหตุของการแพ้ได้มากทีเดียว

Chlorhexidine
Polyquaternium-32
Benzoic acid
Methylparaben
Propylparaben
Butylparaben
Humectant
Organic acid ใช้ที่ความเข้มข้นต่ำกว่า 2%
ทำหน้าที่ปรับความเป็นกรดของผลิตภํณฑ์ด้วย
ถ้าความเข้มข้นเพิ่มเป็น 5-8% มีฤทธิ์ให้เกิดการลอกของเซลล์ผิวหนังด้วย
Urea
Glycerin ใช้มาก ประสิทธิภาพดี การระคายเคืองน้อย
Sorbitol
Butylene glycol ประสิทธิภาพไม่ค่อยดีนัก
Polyethylene glycol (PEG) อาจทำให้เกิดการระคายเคืองได้
Mucopolysaccaride เรียกอีกอย่างว่า Glycosaminoglycan เป็นสารที่เกิดจากการรวมกันของโปรตีน และ Polysaccharide เป็นสาร Humectant ที่ดีมาก
Sodium PCA ผลิตจากโปรตีน เป็นสารที่มีอยู่แล้วในผิวหนังโดยธรรมชาติ
Surfactant
Sodium lauryl sulfate มีความแรงในการเป็น Surfactant มาก มีฟองมาก ต้นทุนถูก ทนความกระด้างของน้ำได้ดี มีการระคายเคืองเกิดขึ้นได้พอควร
Sodium laureth sulfate
TEA lauryl sulfate มีการระคายเคืองเกิดขึ้นได้พอควร
Ammonium lauryl sulfate มีฤทธิ์อ่อน เกิดการระคายเคืองได้บ้าง
Ammonium Laureth sulfate
Cocamide (DEA,MEA) ทำให้เกิดฟอง
Cocamidopropyl betaine
Cococamphodiacetate
Sodium cocoglyceryl ether sulfonate
Sodium lauryl sarcosinate  
Quaternary Ammonium Compound
Guar hydroxypropyltrimonium มีคุณสมบัติเป็น Surfactant ด้วย แต่เป็นชนิดที่มีประจุบวก จึงไม่ดีต่อสุขภาพผิว

มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อด้วย จึงใช้เป็นสารกันบูดด้วย และเป็นที่ใช้แพร่หลายมากใน น้ำยาเช็ดพื้น น้ำยาล้างจาน

Dicetydimonium chloride
Behentrimonium chloride
Behenalkonium chloride
Benzalkonium chloride
Quaternium-18
Stearalkonium chloride
Cetrimonium chloride

 

Post a Message in My Message Board!

ถ้าท่านชอบ web  นี้ 
ท่านที่ต้องการสอบถาม เสนอแนะ เชิญครับ mailto:vichiena@yahoo.com
ขอขอบคุณ Geocities.com ที่ให้พื้นที่ฟรีสำหรับการจัดทำ Web Site นี้
ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลที่สำคัญ discoveryhealth | mediconsult | mayohealth | medscape.com | healthylives | สมาคมแพทย์โรคผิวหนัง USA | fda.gov | my.yahoo.com

1