วงจรการเจริญเติบโตของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิง
ขึ้นอยู่กับความสมดุลย์อันบอบบางของฮอร์โมนที่สร้างมาจากส่วนที่อยู่ในสมอง
2 ส่วนด้วยกัน คือ
- Hypothalamus
ซึ่งสร้างฮอร์โมน Gonadotropin-releasing
Hormone (GnRH)
ซึ่งควบคุมการปล่อยฮอร์โมนอีก
2 ชนิดจาก
- Pituitary Gland
ฮอร์โมนตัวที่ว่า คือ Luteinizing
Hormone (LH) และ Follicle-Stimulating Hormone (FSH)
ทั้ง LH และ FSH
ควบคุมระบบสืบพันธุ์ในช่วงครึ่งแรกของวงจร
โดยมีหน้าที่ดังนี้
- FSH
กระตุ้นการสร้างฮอร์โมน
Estrogen จากรังไข่
- LH
กระตุ้นการสร้างฮอร์โมน
Progesterone
ในช่วงครึ่งหลังของวงจร
Estrogen
มีผลต่อการเจริญเติบโตของไข่ในรังไข่รวมทั้งการเจริญของเยื่อบุโพรงมดลูก
( Endometrium )
Progesterone
มีผลต่อการเจริญเติบโตของเยื่อบุโพรงมดลูก
ให้พร้อมต่อการที่รับการฝังตัวของไข่ที่ถูกผสมแล้ว
ได้แก่
- Premenstrual Syndrome
- Dysmenorrhea
- Amenorrhea
- Endometriosis
- Ovarian Cyst
- Uterine fibroids
คืออาการที่มีเลือดไหลออกจากมดลูกแบบผิดปกติ
เป็นอาการหนึ่งของการเสียสมดุลย์ของฮอร์โมนต่างๆที่เกี่ยวข้อง
สาเหตุที่พบบ่อยคือ
ไม่มีการตกไข่เกิดขึ้น
โดยเมื่อไม่มีการตกไข่เกิดขึ้น
ระดับฮอร์โมน Progesterone
ที่สมควรจะหยุดสร้างก่อนที่จะมีรอบเดือน
เกิดไม่ยอมหยุดสร้าง
ในขณะที่ Estrogen
ก็กระตุ้นการสร้างผนังโพรงมดลูก
จึงทำให้ผนังโพรงมดลูกหนาตัวขึ้นมากจนเกินไป
ก็จะมีการหลุดลอกออกมาได้หลายแบบ
ได้แก่ เป็นหยดๆ ( Spotting ) , มามาก (
Heavy menstrual bleeding ) ,
ประจำเดือนเลื่อนออกไป ( Delayed
periods ) ,
มีประจำเดือนมายาวนานไม่ยอมหยุด
( bleeding throughout the month )
ภาวะนี้มักเกิดขึ้นกับสาววัยแรกรุ่นที่มีประจำเดือนใหม่ๆ
และใกล้วัยทอง
เมื่อถึงอายุ
40-50 ปี
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงการสร้างฮอร์โมนต่างๆ
รายละเอียดขอให้อ่านที่...สตรีวัยทอง... วัยนี้จะมีระดับฮอร์โมน
LH & FSH สูงขึ้น ในขณะที่ Estrogen
ลดต่ำลง
และเริ่มจะไม่ทำงานเป็นวงจรเหมือนแต่ก่อน
|