กำเนิดหน่วยทหารในจังหวัดเชียงรายครั้งที่
๑
กองทหารเมืองเชียงรายปี
พ.ศ.๒๔๔๖ กำเนิด ร.๑๗ พัน.๓ พ.ศ.๒๔๘๔ จัดตั้ง ร.พัน.๒๗ ขึ้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ย้ายที่ตั้งและเปลี่ยนนามหน่วย พ.ศ.๒๔๙๑ ย้ายที่ตั้งมาจังหวัดลำปาง และเปลี่ยนนามหน่วยเป็น ร.๑๔ พัน.๓ กำเนิดหน่วยทหารในจังหวัดเชียงรายครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๔๙๒ ร.๑๔ พัน.๓ ย้ายเข้าที่ตั้งใหม่ในจังหวัดเชียงราย แยกหน่วยทหารเป็นสองหน่วย พ.ศ.๒๔๙๓ จัดตั้งจังหวัดทหารบกเชียงรายขึ้น แยกจาก ร.๑๔ พัน.๓ โดยในระยะแรกมีผู้บังคับบัญชาคนเดียวกัน ธงชัยเฉลิมพล พ.ศ.๒๔๙๖ ร.๗ พัน.๓ ได้รับพระราชทานธงชัยเฉลิมพล หน่วยทหารในพระองค์ ฯ พ.ศ.๒๕๓๙ ได้รับพระบรมราชานุญาต สถาปนาเป็นหน่วยทหารในพระองค์ของสมเด็จย่าฯ เมื่อ ๑๐ ต.ค.๒๕๓๙ |
โครงการอนุสาวรีย์ผู้เสียสละ
พ.ศ.๒๕๑๘ พ.ท.อิทธิ
สิมารักษ์
ดำริให้มีการจัดตั้งโครงการอนุสาวรีย์ผู้เสียสละ ความมุ่งหมาย เพื่อเป็นอนุสรณ์เตือนใจอนุชนรุ่นหลัง ได้พึงระลึกถึงวีระกรรมของผู้เสียสละอยู่เสมอ ทุนในการก่อสร้าง หลวงพ่อเกษม เขมโก อนุญาตให้สร้างเหรียญรูปเหมือนของท่าน จำหน่ายแก่ผู้มีจิตศรัทธา เพื่อนำไปเป็นทุนในการก่อสร้างอนุสาวรีย์ฯ พ.ต.สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อ ๕ กันยายน ๒๕๒๑ คำกล่าวสดุดีผู้เสียชีวิตในพิธีเปิด เมื่อ ๕ กันยายน ๒๕๒๑ |
สถานการณ์ก่อการร้ายในปี
พ.ศ.๒๔๙๗ ปลุกระดมมวลชนสำเร็จปี พ.ศ.๒๕๐๗ ปฏิบัติการชี้นำด้านการเมืองการทหารปี พ.ศ.๒๕๐๙ วันเสียงปืนแตก ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๐ จัดตั้งคณะกรรมการจังหวัดเชียงรายและเขตงาน พ.ศ.๒๕๒๑ เขตงาน ๘ บนดอยยาว - ดอยผาหม่น พัน.ร.๔๗๓ ยึดเนิน ๑๑๘๘ พ.ศ.๒๕๒๔ พระบารมีปกเกล้า ทรงประทับรอยพระบาท ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ |
ประวัติหน่วย / ทำเนียบผู้บังคับบัญชา / ฝ่ายอำนวยการ / การปฏิบัติของหน่วย / โครงการของหน่วย / จังหวัดเชียงราย