( ความรู้เบื้องต้น ) ( ตัวแปรและตัวดำเนินการ ) ( ข้อความ ) ( แฟ้มข้อมูล ) ( โปรแกรมย่อย ) ( เงื่อนไข )
การทำงานกับแถวลำดับ(Array)

  ตัวแปรแถวลำดับมี 2 ชนิด คือ
  1. แบบธรรมดา    ชื่อตัวแปรแถวลำดับ ต้องใช้ @ นำหน้า จะใช้การกำหนดตำแหน่งในการเข้าถึงข้อมูล
    การสร้างแถวลำดับ
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ตัวแปรแถวลำดับ = ( รายการของข้อความ);
    เช่น @data = ( "a", "b", "c");
    การอ่านข้อมูลในแถวลำดับ
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ตัวแปร = ตัวแปรชื่อแถวลำดับ [ตำแหน่ง];
    เช่น $first = $data[ 1];
    การเพิ่มสมาชิกในแถวลำดับ
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ตัวแปรชื่อแถวลำดับ [ตำแหน่งที่ต้องการแทรก] = ข้อมูลของรายการใหม่;
    เช่น $data [ 4] = "d";
    การเรียงลำดับข้อมูล
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ชื่อแถวลำดับใหม่ = sort(ชื่อแถวลำดับเดิม);
    เช่น @new = sort(@data);
    การกลับตำแหน่งข้อมูล
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ชื่อแถวลำดับใหม่ = reverse(ชื่อแถวลำดับเดิม);
    เช่น @new = reverse(@data);
    การเพิ่มและลบสมาชิกของแถวลำดับตัวสุดท้าย
    รูปแบบ
    และ
    push(ชื่อแถวลำดับ,ข้อมูลของรายการใหม่);
    pop(ชื่อแถวลำดับ);
    การเพิ่มและลบสมาชิกของแถวลำดับตัวแรกสุด
    รูปแบบ
    และ
    unshift(ชื่อแถวลำดับ,ข้อมูลของรายการใหม่);
    shift(ชื่อแถวลำดับ);
    การค้นหาแบบวนรอบเพื่ออ่านข้อมูลในแถวลำดับ
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    foreach ตัวแปรที่เก็บค่า(ชื่อแถวลำดับ) {คำสั่งที่ต้องการให้ทำงาน}
    ใช้สำหรับอ่านข้อมูลในแถวลำดับทุกๆตัวโดยจะทำงานแบบวนรอบ
  2. แบบ Associative    ชื่อตัวแปรแถวลำดับแบบนี้ ต้องใช้ % นำหน้า แตกต่างจากแบบธรรมดาคือใช้ key ในการเข้าถึงข้อมูล
    การสร้างแถวลำดับ
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ตัวแปรแถวลำดับ = ( รายการของ keyและ ข้อความ);
    เช่น %data = ( "char1", "a","char2", "b","char3", "c");
    การอ่านข้อมูลในแถวลำดับ
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ตัวแปร = ตัวแปรชื่อแถวลำดับ {key};
    เช่น $first = $data{ "char1"};
    การเพิ่มสมาชิกในแถวลำดับ
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ตัวแปรชื่อแถวลำดับ {key ที่ต้องการแทรก} = ข้อมูลของรายการใหม่;
    เช่น $data { "char4"} = "d";
    การลบข้อมูลออกจากแถวลำดับ
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    delete( ตัวแปรชื่อแถวลำดับ {keyที่ต้องการลบ});
    เช่น delete( $data{ "char1"});
    การตรวจสอบค่า key ว่ามีในแถวลำดับหรือไม่
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    exists ตัวแปรชื่อแถวลำดับ {keyที่ต้องการลบ}
    เช่น if ( exists $data {"char4"} ) {
    print "found data";}
    การอ่านเฉพาะค่า key ออกมาใช้งาน
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ชื่อแถวลำดับธรรมดา = keys(ชื่อแถวลำดับแบบAssociative);
    เช่น @keydata = keys( %data);
    การอ่านเฉพาะข้อมูลออกมาใช้งาน
    รูปแบบ
    คำอธิบาย
    ชื่อแถวลำดับธรรมดา = values(ชื่อแถวลำดับแบบAssociative);
    เช่น @name = values( %data);
การแปลงข้อความให้เป็นรายการในแถวลำดับ
รูปแบบ
คำอธิบาย
ชื่อแถวลำดับ = split( /ตัวคั่นข้อมูล/, ตัวแปรที่เก็บข้อความ);
เช่น $line = "user#%#password#%#e-mail#%#icq"; @data = split( /#%#/, $line);
การรวมรายการในแถวลำดับให้เป็นข้อความ
รูปแบบ
คำอธิบาย
ตัวแปรที่เก็บข้อความ = join( ตัวคั่นข้อมูล, ชื่อแถวลำดับ);
เช่น $line = join(#+#, @data);
อินเตอร์เน็ต
1