ลำดับการสำรวจดาวอังคาร

Mars 1960A - การทดลองเกี่ยวกับดาวอังคารของ USSR - ( 10 ต.ค. 1960 )
ไม่ออกจากวงโคจรโลก

Mars 1960B - การทดลองเกี่ยวกับดาวอังคารของ USSR - ( 14 ต.ค. 1960 )
ไม่ออกจากงวโคจรโลก

Mars 1962A - การพยายามเข้าใกล้ดาวอังคารของรัสเซีย - ( 24 ต.ค. 1962 )
ยานอวกาศพลาดจากวงโคจรของโลกหลังจากการระเบิดครั้งสุดท้ายของแท่นปล่อยจรวด

Mars 1 - การพยายามเข้าใกล้ดาวอังคารของรัสเซีย - 893 kg - ( 1 พ.ย. 1962 )
ขาดการติดต่อกลางทาง

Mars 1962B - ภาคพื้นดินของดาวอังคารของ USSR - ( 4 พ.ย. 1962 )
ไม่ออกจากวงโคจรโลก

Mariner 3 - การพยายามเข้าใกล้ดาวอังคารของ USA - 260 kg - ( 5 พ.ย. 1964 )
ความพยายามที่จะเป็นอิสระของดาวอังคาร ไม่มีแสงอาทิตย์ เคลื่อนที่ออกมา Mariner 3 ยังคงอยู่ในวงโคจรของระบบสุริยะ

Mariner 4 - การพยายามเข้าใกล้ดาวอังคารของ USA - 260 kg - ( 28 พ.ย. 1964 - 20 ธ.ค. 1967 )
Mariner 4 ถึงดาวอังคารเมื่อ 14 ก.ค. 1965 และผ่านผิวหน้าเข้ามาเป็นระยะ 9920 ก.ม. โดยได้ภาพของพื้นผิวปากปล่องภูเขาไฟ ใกล้ๆ 22 รูป ในช่วงที่ความดันต่ำลงเป็นช่วงที่มีองค์ประกอบของก๊าซ co2 ในช่ง 5 - 10 มิลลิบาร์ อันที่จะเป็นการป้องกันกระแสแม่เหล็ก เล็กน้อย mariner 4 ยังคงอยู่ในวงโคจร

Zond 2 - การพยายามเข้าใกล้ดาวอังคารของ USSR - ( 30 พ.ย. 1964 )
การติดต่อสูญหาย

Mariner 6 - การพยายามเข้าใกล้ดาวอังคารของ USA - 412 kg - ( 24 ก.พ. 1969 )
Mariner 6 ถึงดาวอังคารเมื่อวันที่ 24 ก.พ. 1969 และการเดินทางเท่ากับระยะทาง 3437 ก.ม. ของดาวเคราะห์ Mariner 6 และ Mariner 7 ได้นำค่าที่วัดได้ของผิวหน้าและอุณหภูมิ ความดัน ตำแหน่งของวัตถุผิวหน้า และแรงดันของบรรยากาศ นอกจากนี้ยังนำรูปภาพ มากกว่า 200 รูป Mariner 6 ขณะนี้ยังคงชื่อในวงโคจร

Mariner 7 - การพยายามเข้าใกล้ดาวอังคารของ USA - 412 kg - ( 27 มี.ค. 1969 )
ถึงดาวอังคารเมื่อวันที่ 5 เม.ย. 1969 และเดินทางเป็นระยะทาง 3551 ก.ม. ของระยะทางของบริเวณขั้วทางใต้ของดาวเคราะห์ ส่วนที่เหลือคล้าย Mariner 6

Mariner 8 - การพยายามเข้าใกล้ดาวอังคารของ USA - ( 8 พ.ค. 1971 )
ไม่ออกจากวงโคจรโลก

Kosmos 419 - การทดลองเกียวกับดาวอังคารของ USSR - ( 10 พ.ค. 1971)
ไม่ออกจากวงโคจรของโลก

Mars2 - วงโคจรของดาวอังคารและสถานนีภาคพื้นดินเล็ก ๆ ของ USSR -4,650 kg -(19 พ.ค. 1971)
การลงจอดของยาน Mar2 หลุดจากวงโคจรเมื่อ 27 พ.ย. 1971 เป็นการตกของยานเพราะระบบเบรกของยานผิดพลาด ไม่มีข้อมูลการกลับมาและเป็นสิ่งแรกที่มนุษย์สร้างขึ้นที่ไปถึงดาวอังคาร ข้อมูลของการโคจรถึงปี 1972

Mars3 - การทดลองเกียวกับดาวอังคารของ USSR - 4.643 kg - ( 28 พ.ค. 1971 )
Mars3ไปถึงดาวอังคารเมื่อ 2 ธันวาคม 1971 มีการนำยานลงจอดและต่อมากลายเป็นความสำเร็จครั้งแรกในการลงจอดบนดาวอังคาร เกิดการขัดข้องของวีดีโอเมื่อได้ถ่ยทอดภาพข้อมูลซึ่งมันได้ทำการวัดอุณหภูมิของผิวหน้าแลเ สภาพของชั้นบรรยากาศ

Mariner 9 -อเมริกาโคจรรอบๆ ดาวอังคาร -974 kg - ( 30 พ.ค. 1971-72 )
Mariner 9 ถึงดาวอังคารเมื่อ 3 พ.ย. 1971 และ เข้าไปในวงโคจรเมื่อ 24 พฤศจิกายน นับเป็นยานอวกาศของอเมริกาลำแรกที่เข้าไปในวงโคจรและโคจรไปรอบๆ ดาวอังคารนอกเหนือจากดวงจันทร์และเวลาที่ไปถึงได้มีพายุใต้ฝุ่นก้อนมหึมาอยู่ในกลุ่มดาวเคราะห์นี้ การทดลองของนักวิทยาศาสตร์หลายๆ การทดลองจึงล่าช้าไปจนกว่าจะผ่านพ้นไป ภาพแรกของดวงจันทร์ Phobos และ Deimos ได้นำเอาเทคโนโลยี การแยกภาพอย่างละเอียดมาใช้ แม่น้ำและหุบเขาเหมือนกับภูเขาไฟที่ค้นะพบ Mariner 9 ยังคงอยู่ในวงโคจรของดาวอังคาร

Mars 4 -วงโคจรของดาวอังคารโดย USSR -4,650 kg - ( 21 ก.ค. 1973 )
Mar 4 ถึงดาวอังคารเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 1974 แต่พลาดตกลงไปในวงโคจรเนื่องจากการทำงานที่ขัดข้องของเบรกของเครื่องยนต์ Mars4 ได้เดินทางในระยะทาง 2.200 กิโลเมตร รอบผิวหน้าและส่งข้อมูลกับภาพมาบางส่วน

Mars 5 -วงโคจรของดาวอังคารโดย USSR -4,650 kg - ( 23 ก.ค. 1973 )
Mars 5 ได้เข้าสู่วงโคจรของดาวอังคารเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 1974 และได้รับข้อมูลการระเบิดของยาน Mar6 และ Mar7

Mars 6 - วงโคจรของดาวอังคารและสถานนีภาคพื้นดินเล็ก ๆ ของ USSR -4,650 kg - ( 5 ส.ค. 1973 )
เมื่อ 12 พฤษภาคม 1974 ยาน Mars 6 ได้เข้าสู่วงโคจรและเริ่มนำยานลงจอดและได้ส่งข้อมูลเกี่ยวกับชั้นบรรยากาศกลับมา อย่างมากมาย แต่มีการผิดพลาดระหว่างทาง

Mars7 - วงโคจรของดาวอังคารและสถานนีภาคพื้นดินเล็ก ๆ ของ USSR -4,650 kg - ( 9 ส.ค. 1973 )
เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 1974 ยาน Mars 7 พลาดที่จะเข้าไปอยู่ในวงโคจรของดาวอังคารและลงจอดไม่ได้ ตอนนี้ได้ลงจอดเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจรของดวงอาทิตย์

Viking 1 การโคจรและลงจอดที่ดาวอังคารของอเมริกา -3.399 kg - ( 20 ส.ค. 1975 - 7 ส.ค. 1980 )
Viking 1 และ 2 ถูกออกแบบหลังจากมีการสร้างหลังจากมีการสำรวจดาวอังคารยานโคจร ( 900 kg )และ สถานนีภาคพื้นดิน ( 600 kg ) Viking เข้าวงโคจรของดาวอังคาร เมื่อ 9 มิถุนายน 1976 การลงจอดถึงพื้นเมื่อ 20 กรกฏาคม 1976 ทางด้านใต้ของ Chryse Planitia การทดลองการลงจอดทั้งสองเพื่อทำการวิจัยส่วนที่เล็กที่สุดของดาวอังคาร ผลจากการทดเกิดความขัดแย้งกัน การลงจอดได้รับภาพแสดงรายละเอียดของสีที่ต่อกันแผ่เป็นวงกว้างของภูมิประเทศของดาวอังคาร และยังวัดอากาศของดาวอังคารได้ด้วย แผนที่วงโคจรรอบผิวหน้าของดาวอังคารได้รับภาพกว่า 52.000 ภาพ การโคจรของ Vinking 1 ถูกตรวจพบเมื่อ 7 สิงหาคม 1980 เมื่อเคลื่อนที่ออกจากวงโคจรโดยการควบคุมที่กำหนดไว้แล้ว Vinking 1 เกิดอุบัติเหตุในวันที่ 13 พฤศจิกายน 1982 และไม่มีการติดต่อกลับมาอีกเลย


1