(จากหนังสือ เตรียมสอบ ม.3 / สำนักพิมพ์พัฒนาศีกษา)
ความชื้นสัมพัทธ์ คือ ปริมาณเปรียบเทียบระหว่างมวลของไอน้ำ ที่มีอยู่จริงในอากาศขณะนั้นกับมวลของไอน้ำในอากาศอิ่มตัวที่อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน ความชื้นสัมพัทธ์นิยมคิดเป็นร้อยละ การหาความชื้นสัมพัทธ์จึงหาได้จากสูตร
มวลของไอน้ำในอากาศอิ่มตัวที่อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน |
ถ้ามวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศ ขณะนั้นเท่ากับมวลของไอน้ำในอากาศอิ่มตัวที่ อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน อากาศนั้นมีความชื้นสัมพัทธ์ 100% อากาศที่ทำให้เรารู้สึกสบาย มีความชื้นสัมพัทธ์ 60% ถ้าอากาศมีความชื้นสัมพัทธ์มาก จะทำให้เหงื่อบนตัวเราระเหยได้น้อย จึงทำให้ เหนียวตัวและรู้สึกอึดอัด ถ้าอากาศมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ จะทำให้เหงื่อบนตัวเราระเหยได้มาก จึงทำให้ รู้สึกเย็นบางครั้งทำให้ผิวหนังแห้งหรือแตก เครื่องมือที่ใช้วัดความชื้นสัมพัทธ์ เรียกว่า ไฮโกรมิเตอร์ (hygrometer) ไฮโกรมิเตอร์ แบบกระเปาะเปียก - กระเปาะแห้ง การหาค่าความชื้นสัมพัทธ์โดยใช้ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก - กระเปาะแห้ง ทำได้ ดังนี้
1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0 6 7 8 9 10 11 12 13 14 |
89 83 77 72 67 61 56 51 46 36 26 15 5 |
90 86 81 76 72 67 61 56 51 46 36 26 15 5 |
92 88 83 80 75 72 68 64 60 53 46 39 32 25 19 13 |
93 89 85 82 78 75 71 68 62 57 51 46 41 36 31 28 25 19 |
93 90 86 83 78 77 74 71 68 62 57 51 46 41 36 31 28 25 |
94 91 88 85 80 79 76 73 71 65 60 55 51 46 42 37 33 29 |
94 91 89 86 83 81 78 76 73 68 63 59 54 50 46 43 38 34 |
โจทย์ ในวันที่ 30 มิถุนายน แดงอ่านอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์
กระเปาะแห่งได้ 34 องศาเซลเซียส และ อ่านอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกจากไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก กระเปาะแห้งได้ 30 องศาเซลเซียส
จากตารางที่ 13.4 อากาศมีความชื้นสัมพัทธ์เท่าใด
วิธีคิด อุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้ง
=
34 องศาเซลเซียส
. . . 4.0 . . . 14 |
. . . 56 . . . |
. . . 63 . . . |
. . . 68 . . . |
. . . 71 . . . 19 |
. . . 74 . . . 25 |
. . . 76 . . . 29 |
. . . 78 . . . 34 |