Viking 2 การโคจรและภาคพื้นดินที่ดาวอังคารของอเมริกา 3399 ก.ม. ( 9 ก.ย. 1975 - 25 ก.ค. 1978 )
Viking 1 และ 2 ถูกออกแบบหลังจากมีการสร้างหลังจากมีการสำรวจดาวอังคารยานโคจร ( 900 kg )และ สถานนีภาคพื้นดิน ( 600 kg )Viking 2 เข้าไปในวงโคจรของดาวอังคารเมื่อ 24 ก.ค. 1976 สัมผัสที่พื้นผิวดาวอังคารเมื่อ 7 ส.ค. 1976 ที่ Utopia Planitia. การทดลองการลงจอดทั้งสองเพื่อทำการวิจัยส่วนที่เล็กที่สุดของดาวอังคาร ผลจากการทดเกิดความขัดแย้งกัน การลงจอดได้รับภาพแสดงรายละเอียดของสีที่ต่อกันแผ่เป็นวงกว้างของภูมิประเทศของดาวอังคาร และยังวัดอากาศของดาวอังคารได้ด้วย แผนที่วงโคจรรอบผิวหน้าของดาวอังคารได้รับภาพกว่า 52.000 ภาพ Viking 2 ปลดระวางเมื่อ 25 ก.ค. 1978 เมื่อยานได้เคลื่อนที่ออกจากวงโคจรโดยการ ควบคุมที่ถูกกำหนดไว้ในตอนแรก Viking 2 ใช้วงโคจรของยาน Viking 1 เพื่อทำการติดต่อกลับและตกในเวลา เดียวกัน เป็นช่วงเวลาเมื่อ 7 ส.ค. 1980

Phobos 1 การโคจรและสถานีภาคพื้นดินบนดาวอังคารของ USSR 5000 kg ( 7 ก.ค. 1988 )
Phobos 1 ได้ส่งผลการสำรวจเกี่ยวกับดวงจันทร์บนดาวอังคาร ขาดการติดต่อเมื่อ 2 ก.ย. 1988
,

Phobos 2 การโคจรและสถานีภาคพื้นดินบนดาวอังคารของ USSR 5000 kg ( 12 ก.ค. 1988 )
Phobos 2 เข้าสู่ดาวอังคารและโคจรในวันที่ 30 ม.ค. 1989 การโคจรได้เข้าใกล้ดวงจันทร์ Phobos 800 ก.ม. แต่ขาดหายไป

Mars Observer การโคจรบนดาวอังคารของ USA ( 25 ก.ย. 1992 )
การติดต่อขาดหายเมื่อ 21 ส.ค. 1993 แต่ก่อนหน้านี้ได้เข้าสู่การโคจร

Mars Global Surveyor การโคจรบนดาวอังคารของ USA ( 7 พ.ย. 1996 )
Mars Global Surveyor เป็นโครงการที่จะปล่อยช่วงปลายฤดูใบไม้ร่วงปี 1996 มันเริ่มต้นใช้เมื่อเกิดการ สูญหายของMars Observer มันถูกสร้างหลังจาก Mars Observer

Mars 96 การโคจรและสถานีภาคพื้นดินบนดาวอังคารของ USSR ( 16 พ.ย. 96 )
ถูกสร้างเพื่อการโคจร 1 ตัว ภาคพื้นดิน 2 แห่ง การตรวจสอบดิน 2 แห่ง ถึงดาวเคราะห์เมื่อเดือน ก.ย. 97 จรวดได้บรรทุก Mars 96 ขึ้นได้ประสบความสำเร็จ แต่เข้าสู่การโคจรเมื่อยังไม่พร้อม โดยส่งการตรวจสอบ ไปยังที่รกร้าง มันตกไปในทะเลจมหายไป

Mars Pathfinder ภาคพื้นดินและยานสำรวจพื้นผิวของดาวอังคาร ( ธ.ค. 96 )
ขนส่งสถานีภาคพื้นดิน และยานสำรวจพื้นผิวไปยังดาวอังคาร เมื่อ กรกฎาคม 97 Soourner ยานสำรวจพื้นดิน 6 ล้อ จะสำรวจพื้นที่ใกล้สถานีภาคพื้นดิน

Planet B การโคจรบนดาวอังคารของญีปุ่น ( ส.ค. 1998 )
สถาบันวิทยศาสตร์อวกาศและดวงดาวของญี่ปุ่น ( ISAS ) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการทดลองสิ่งแวดล้อมรอบดาว อังคาร ซึ่งเป็นครั้งแรกของนักบินอวกาศชาวญี่ปุ่นที่ค้นพบดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ

Mars Surveyor 98 Orbiter การโคจรของ USA ( ธ.ค. 1998 )
ยานอวกาศนี้ จะทำการสื่อสาร กับสถานีอวกาศภาคพื้นดินบนดาวอังคาร จะศึกษาดาวเคราะห์จากรอบๆ ขั้ว เพื่อใช้ความหลากหลายของ เครื่องมือที่ทันสมัยอย่างน้อย 1.9 ป๊

Mars Surveyor ' 98 Lander ภาคพื้นดิน USA ( ม.ค. 1999 )
การติดต่อจากภาสคพื้นดินไปสู่ยานข้างนอก นักบินจะต้องศึกษาสภาพแวดล้อม ที่ขั้วโลกใต้ของดาวอังคารซึ่งจะเข้าใจถึงสภาพภูมิอากาศและดินบนดาวเคราะห์ จะเป็นสิ่งที่ช่วยในการศึกษาเกี่ยวกับสภาพอากาศรัศมีของวงโคจรที่จะเจาะเข้าไปในดิน

Mars Surveyor 2001 USA Mars Probe ( 2001 )
โครงการนี้ใช้เวลา 10 ปีในการตรวจสอบดาวอังคารระหว่างช่วงเวลาที่เป็นไปได้

Mars Surveyor 2005 USA Mars Sample Return ( 2005 )
จรวดนี้จะส่งตัวอย่างของดินกลับมาเพื่อวิเคราะห์บนโลก


1