ไดเรกทอรีและโครงสร้างของไดเรกทอรี |
ก่อนจะมาถึงที่ตรงนี้ เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับไฟล์ มาแล้วใช่ไหมครับ ใครที่ยังไม่เข้าใจเรื่องไฟล์ อ่านได้จาก การจัดการไฟล์และไดเรกทอรี ครับ ในบทที่แล้วผมได้เขียนถึงวิธีการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ เช่น ดูรายชื่อของไฟล์ (list) ก็อปปี้ไฟล์ (cp) , ลบไฟล์ (rm) อะไรพวกนี้แหละครับ แต่ว่าไฟล์ที่สร้างนั้น จำเป็นต้องมีที่อยู่ ในที่นี้คือต้องอยู่ภายใต้ ไดเรกทอรีใด ไดเรกทอรีหนึ่งเสมอ ดังนั้นข้อความตรงนี้ บทนี้ เราจะคุยกันเรื่องเกี่ยวกับไดเรกทอรีครับ เรื่องโครงสร้างของไดเรกทอรี และการจัดการไดเรกทอรี
$pwd /home/user1 |
$cd /usr/lib $pwd /usr/lib |
$cd $pwd /home/user1 |
$pwd /home/user1 $cd .. $pwd /home |
$pwd /home/user2 $mkdir veggies $cd veggies $mkdir broccoli $cd broccoli $pwd /home/user2/veggies/broccoli |
$pwd /home/user2 $cd /home/user2/veggies/broccoli $pwd /home/user2/veggies/broccoli |
การที่จะเข้าไปอยู่ในไดเรกทอรี broccoli อีกวิธีหนึ่ง สามารถใช้คำสั่งได้ดังนี้ครับ
$pwd /home/user2 $cd veggies/broccoli $pwd /home/user2/veggies/broccoli |
ลองสร้างไดเรกทอรี แล้วก็ลองเปลี่ยนไปอยู่ในไดเรกทอรี ต่าง ๆ ด้วยวิธีการอ้างอิง พาธ แบบ ต่าง ๆ ดูนะครับ จะทำให้เราเข้าใจ ได้ดียิ่งขึ้น
$pwd /home/user2/veggies $ls broccoli $mv broccoli carrots $ls carrots |
$cp -r veggies veggies3 $ |
$rmdir veggies3 $ |
อีกวิธีหนึ่งคือการใช้คำสั่งเพื่อให้ลบ ไดเรกทอรี รวมทั้งไฟล์ และไดเรกทอรี ที่อยู่ภายใต้ ไดเรกทอรี นั้น ๆ ด้วย ถ้าเทียบกับ dos ก็เห็นจะเป็นคำสั่ง deltree ละครับ
$rm -r veggies3 $ |
เตือนกันไว้นิดหนึ่งครับ ไฟล์หรือไดเรกทอรี ที่ได้ลบไปแล้วไม่สามารถ กู้กลับคืนมาได้ เพราะฉะนั้นควรระวังในการใช้คำสั่งนะครับ